ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 7)

การทดสอบสมรรถนะของรถก่อนการแข่งขัน (scrutineering) เป็นอีกอุปสรรคหนึ่งที่ผู้เข้าร่วมแข่งขันจะต้องเผชิญ ถ้าผ่านได้ก็ไปต่อ ถ้าไม่ผ่านคงทำได้แค่ยืนเชียร์เพื่อนๆ ที่ผ่านได้เข้าร่วมการแข่งขัน การทดสอบสภาพรถเป็นเรื่องที่ผู้จัดให้ความสำคัญมาก ใช้เวลาเกื่อบจะสัปดาห์ เนื่องจากดำเนินการโดยบรรดาคณะกรรมการซึ่งประกอบไปด้วย กรมการขนส่งทางบกของประเทศออสเตรเลีย ผู้เชี่ยวชาญและคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยต่างๆ รถที่ผ่านการตรวจสอบจะได้ทะเบียนรถอย่างเป็นทางการของประเทศออสเตรเลีย จึงจะมีโอกาสโลดแล่นบนท้องถนนได้ การทดสอบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบอยู่กับที่ (static scrutineering)

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 6)

รางวัลของผู้ชนะในรายการ World Solar Challenge (WSC) คืออะไร หลายคนอาจสงสัย บางคนอาจคิดว่ามีมูลค่ามากมายเพราะการเป็นผู้ชนะไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องฝ่าฟันปัญหาและอุปสรรคมากมาย ตั้งแต่กระบวนการออกแบบ การสร้าง จนถึงการแข่งขันแบบเอาเป็นเอาตาย ไม่เสร็จไม่เลิก และการเดินทางแบบค่ำที่ไหนนอนที่นั่น แต่สิ่งที่ผู้ชนะได้รับเป็นเพียงถ้วยรางวัล 1 ใบ และการประกาศชื่อบนเวที ซึ่งไม่มีเงินรางวัลใดๆ ทั้งสิ้น

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 5)

World Solar Challenge (WSC) ในวันนี้นับเป็นรายการแข่งขันซึ่งชาวออสออสเตรเลียภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะเปรียบเสมือนเป็นเป็นแหล่งนำเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านยานพาหนะแห่งอนาคตที่ทั่วโลกเฝ้าติดตาม โดยจัดขึ้นทุกๆ สองปี ซึ่งในแต่ละครั้ง ประเทศต่างๆ จากทั่วทุกมุมโลกก็จะเอาผลงานการวิจัยหรือนวัตกรรมต้นแบบใหม่ๆ มานำเสนออยู่เสมอ เพื่อแสดงถึงความเป็นผู้นำในเทคโนโลยีด้านดังกล่าว เพราะฉะนั้นเราจะได้พบเห็นผลงานการค้นคว้าใหม่ๆ หรือนวัตกรรมใหม่ๆ ก่อนที่จะกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่วางขายตามท้องตลาดอยู่เสมอ ที่สำคัญการมางานนี้งานเดียวจะได้ชมผลงานการออกแบบรถพลังงานแสงอาทิตย์จากกว่า 30 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมีความแตกต่างหลากหลายพบผู้เข้าร่วมแข่งขันที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านภาษาและวัฒนธรรม

Read more

ทดสอบประสิทธิภาพรถพลังงานแสงอาทิตย์ STC-2 ทั้งสองรุ่น

เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 9.30-16.30 น. ดร.ฐกฤต ปานขลิบ คณบดีคณะเทคโนโลยี และผู้อำนวยการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต และอาจารย์อุบลวรรณ สุวรรณ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายบริหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) นำทีมอาจารย์และนักศึกษาผู้ผลิตรถพลังงานแสงอาทิตย์ STC-2 ทั้ง 2

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 4)

สังเกตุได้ว่าหน้าตาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ที่เข้าร่วมแข่งขันในรายการ World Solar Challenge (WSC) จะเปลี่ยนแปลงไปทุกๆ ปี สาเหตุอันเนื่องมาจากกฏเกณฑ์การแข่งขัน ซึ่งผู้จัดได้ปรับเปลี่ยนให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ซึ่งถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการปรับลดพื้นที่รับแสงของโซล่าเซลล์ การปรับลดขนาดความยาวหรือความกว้างของตัวรถ การเปลี่ยนแปลงความจุและประเภทแบตเตอรี่ ฯลฯ แต่สิ่งที่ผู้จัดให้ความสำคัญเป็นพิเศษตลอดมาก็คือเรื่องของมาตรฐานความปรอดภัย การเปลี่ยนแปลงกฏและกติกาต่างๆ ทำให้เกิดโจทย์ที่ท้าทายต่อผู้ที่จะเข้าร่วมการแข่งขันอยู่เสมอมา ซึ่งเป็นการเพิ่มเสน่ห์ให้การแข่งขัน และสิ่งเหล่านี้นั่นเองที่ทำให้การแข่งขันในแต่ละครั้ง

Read more

ประวัติความเป็นมาของการแข่งขันพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 1)

จากวิกฤติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของโลกในอดีต ทำให้นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรในแขนงต่างๆ พยายามอย่างยิ่งที่จะหาแหล่งพลังงานทางเลือก (Alternative energy) มาทดแทนพลังงานหลักซึ่งส่วนใหญ่เป็นพลังงานสิ้นเปลือง (Fossil fuel) ประเภทน้ำมันปิโตรเลี่ยม พลังงานแสงอาทิตย์จึงกลายเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) ที่ได้รับความสนใจในอันดับต้นๆ จนได้มีการจัดการแข่งขันการออกแบบและสร้างยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นครั้งแรกในปี 1987 ณ ประเทศออสเตรเลีย โดยเรียกการแข่งขันในครั้งนั้นว่า World

Read more