โครงการ Solar car จากความฝันสู่ท้องถนนไทย ประสบการณ์เทคโนโลยีจากพี่สู่น้อง บรรยายโดย ทีมอาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

ณ สถาบันการศึกษาทั่วประเทศ ตลอดเดือนกุมภาพันธ์ 2561 สนใจเข้าร่วมโครงการรับในสมัครได้ที่ สถาบันของท่านหรือ ดาวน์โหลดในสมัครได้ที่นี่ – รายละเอียดโครงการเทคโนโลยีจากพี่สู่น้อง – ใบสมัครเข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียน – ในสมัครเข้าร่วมโครงการสำหรับนักเรียน/นักศึกษา **** เพื่อร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีม STC-2 และลุ้นเข้าคัดเลือกร่วมทีม STC-3 ในการแข่งขัน WSC 2019 ณ

Read more

ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า ทีมรถยนต์พลังงานแสงอาทิตย์ STC 2

ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า ทีมรถยนต์พลังงานแสงอาทิตย์ STC 2 SOLAR CAR THAILAND ( วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม) และการแข่งขัน World Solar Challenge การแข่งขันครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าหากเรามีความมุ่งมั่น ความเพียรเราก็จะสามารถฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆไปได้ #รถพลังงานแสงอาทิตย์ #solarcarthailand #wemovewiththesun

Read more

STC-2 ถึงสนามแข่งเพื่อเข้าทดสอบสมรรถนะ Hidden Valley motorsport

หลังออกจากตู้คอนเทนเนอร์ได้ STC-2 ก็มุ่งหน้าสู่สนามแข่ง(Hidden Valley motorsport Darwin)เพื่อเข้า pit หมายเลข 29 เพื่อเตรียมพร้อมกับการทดสอบสมรรถนะของคณะกรรมการ “World Solar Challenge 2017” #solarcarthailand #รถพลังงานแสงอาทิตย์ #ไทยแลนด์สู้ๆ

Read more

ทีมงาน Solar Car Thailand เข้าพบคุณวีระศักดิ์ ฟูตระกูล รัฐมนตรีช่วยว่าการะทรวงการต่างประเทศ ณ กระทรวงการต่างประเทศ

ทีมงาน Solar Car Thailand เข้าพบคุณวีระศักดิ์ ฟูตระกูล รัฐมนตรีช่วยว่าการะทรวงการต่างประเทศ ณ กระทรวงการต่างประเทศ เพื่อรายงานความคืบหน้าการนำรถพลังงานแสงอาทิตย์ STC-2 เข้าร่วมการแข่งขัน World Solar Challenge 2017 ณ ประเทศออสเตรเลีย #รถพลังงานแสงอาทิตย์ #solarcarthailand

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 12)

รายการแข่งขัน World Solar Challenge ในปี 2017 นี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ได้สร้างรถพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นมาถึง 2 คัน คันแรกเป็นรุ่น Challenger Class (Aerodynamic Master Pieces) ใช้ชื่อทีมว่า “STC-2 Edison”

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 11)

รถพลังงานแสงอาทิตย์คันแรกของประเทศไทย ที่เข้าร่วมการแข่งขัน World Solar Challenge (WSC) คือทีม STC-1 จากคณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในปี ค.ศ. 2015 ภายใต้แนวคิดในการยกระดับมาตรฐานการศึกษาของไทยสู่มาตรฐานโลกของอธิการบดี อาจารย์พรพิสุทธิ์ มงคลวนิช โดยการแข่งขันในครั้งนั้นประกอบด้วยตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมแข่งขันกว่า 50 ทีม

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 10)

หลังการทดสอบสมรรถนะ แบบอยู่กับที่ (static scrutineering) และ แบบเคลื่อนที่ (dynamic scrutineering) ที่แสนยาวนาน สิ่งที่ผู้ร่วมแข่งขันซึ่งผ่านการทดสอบจะได้รับก็คือ ทะเบียนรถอย่างเป็นทางการซึ่งออกโดย รัฐนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี (Northern Territory) ของประเทศออสเตรเลีย หลังจากนี้รถพลังงานแสงอาทิตย์ก็จะสามารถขับเคลื่อนบนท้องถนนของประเทศได้อย่างถูกต้องตามกฏหมาย โดยจะเริ่มปล่อยตัวจากเมืองดาร์วิน (Darwin) ตั้งแต่เช้าในวันถัดไป เพื่อออกเดินทางมุ่งหน้าไปยังเมือง

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 9)

หลังการทดสอบสมรรถนะ แบบอยู่กับที่ (static scrutineering) ถัดไปก็จะเป็นการทดสอบแบบเคลื่อนที่ (dynamic scrutineering) สิ่งที่เราจะต้องทดสอบกันในวันนี้คือการเคลื่อนที่ใน 3 ประเภท ประเภทแรกคือการเลี้ยวโค้งโดยรัศมีวงเลี้ยวต้องไม่เกิน 16 เมตร ประเภทที่สองคือการขับหลบสิ่งกีดขวางแบบต่อเนื่องด้วยความเร็วที่กำหนด และสุดท้ายคือการขับรถด้วยความเร็วที่กำหนดและให้เหยียบเบรกแบบทันทีทันใด โดยระยะทางเบรกที่เกิดขึ้นจะต้องไม่เกิน 5 เมตร หากผู้เข้าร่วมแข่งขันสามารถผ่านด่านสุดหินทั้งสองไปได้ ก็พร้อมที่จะโลดแล่นบนไฮเวย์หมายเลข

Read more

ประวัติความเป็นมาของรถพลังงานแสงอาทิตย์ (ตอนที่ 8)

ด่านแรกในการเข้าร่วมการแข่งขันในรายการ World Solar Challenge (WSC) ที่ทุกทีมจะต้องเจอคือการทดสอบสมรรถนะ แบบอยู่กับที่ (static scrutineering) ซึ่งทางผู้จัดได้เชิญสุดยอดผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งจากหน่วยงานจากภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในแต่ละด้าน เช่น ด้านวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมพลังงาน และวิศวกรรมความปลอดภัย รวมถึงกรรมการซึ่งเป็นผู้กำหนดกฎกติกาในการแข่งขัน

Read more